Page 14 - คู่มือการจัดการภัยพิบัติโดยชุมชน
P. 14
14
14
ิ
คู่มือการจัดการภัยพบัติโดยชุมชน
ื
�
3) การรวบรวมและวิเคราะห์ข้อมูลเพ่อทาแผน หมายถึง หลังจากได้ข้อมูล
ี
�
ี
ั
�
แล้วอาสาสมัครท้งหมดต้องมานาเสนอแลกเปล่ยนกันในรูปแบบแผนท่ทามือและ
ิ
ข้อมูลรวมสรุป เพ่อเกิดการเรียนรู้ร่วมกัน โอกาสเส่ยงในการเกิดภัยพิบัต ช่วงเวลา
ี
ื
ิ
การเกิดภัย จนเกิดปฏิทินภัยพิบัติทางธรรมชาต โดยการวิเคราะห์ข้อมูลอย่างมีเหต ุ
มีผล เช่น สาเหตุเกิดภัยจากภายในจุดปลอดภัยเหมาะสมหรือไม่ เรื่องประชากรกับ
เส้นทางอพยพเหมาะหรือไม่อย่างไร หากค้นหาสาเหตุต่างๆ ได้แล้ว ก�าหนดร่างแผน
เตรียมป้องกันภัยด้วยกัน โจทย์ท้าทาย คือ จากข้อมูลทั้งหมดเราจะท�าอย่างไรบ้างให้
คนในชุมชนเราปลอดภัย อาจมีค�าถามมากมายให้ทีมงานหาค�าตอบ เช่น ทีมงานจะ
มีการประสานกันได้รวดเร็วที่สุดท�าอย่างไร การแจ้งเตือนอย่างไรให้ทั่วถึง การอพยพ
อย่างไร ใครตัดสินใจอพยพ อพยพไปที่ไหนหากมีคนตกค้างจะเอาอะไรไปช่วย หาก
มีคนเจ็บจะท�าอย่างไร
4) การพัฒนา อาสาสมัคร หมายถึง เมื่อเกิดแผนเตรียมพร้อมป้องกันภัยแล้ว
อาสาสมัครอาจมีหน้าท่หรือบทบาทเกิดข้นมากมาย เช่น การจัดการจราจร การ
ึ
ี
อพยพหลบภัย การวิเคราะห์ภัย การแจ้งเตือนภัย การเฝ้าระวัง การกู้ชีพ ฯลฯ หาก
มีสิ่งหนึ่งสิ่งใดเกิดจากภายในแล้วจ�าเป็นที่ต้องพัฒนาอาสาสมัครเหล่านั้นให้มีความรู้
ความช�านาญ และสามารถปฏิบัติตามแผนเตรียมพร้อมป้องกันภัยได้
5) การสร้างภาคีความร่วมมือ หมายถึง เม่อเกิดแผนเตรียมความพร้อมภาย
ื
ใต้ชุมชนอาจเป็นฉบับร่างและพัฒนาแผนร่วมกันกับหน่วยงานท่เก่ยวข้อง เช่น
ี
ี
ปภ.จังหวัด อบต. ผู้ใหญ่ ก�านัน อ�าเภอ และองค์กรภาคเอกชนที่มีประสบการณ์ เพื่อ
ให้เกิดแผนท่มีคุณภาพ และเร่มต้นความร่วมมือด้วยกันเพราะภาคีภาครัฐมีองค์ความ
ี
ิ
รู้ และงบประมาณในการสนับสนุน
ตัวอย่าง : การสร้างกลไกความร่วมมือระหว่าง ท้องถิ่น ภาคเอกชน และชุมชน
ื
กรณีชุมชนบ้านนาเค็ม คือ ส่งท่ต้องซ้อมให้เห็นปัญหาและเข้าใจวิธีท่จะร่วมมือกันเพ่อ
ี
�
้
ิ
ี
รับเหตุที่ก่อนจะเกิดขึ้นจริง มีการซ้อมแผนบนโต๊ะ (TTX : Table Top Exercise) เพื่อ
�
�
ทาความเข้าใจและลาดับความร่วมมือจากทุกหน่วย ก่อนซ้อมแผนในชุมชน ได้แบ่ง
ฝ่ายต่างๆ ออกเป็น