Page 7 - land is life
P. 7

ที่ดินคือชีวิต ฝ่าวิกฤตที่ดินคนจน [ 7 ]


                       การตั้งเทศบาลวารินช าราบ ในปี พ.ศ. 2535 ท าให้ความเจริญค่อยๆ คืบคลานเข้ามาบริเวณนี้ผู้คนจาก
               ชนบทห่างไกลที่ประสบปัญหาการท านาท าไร่ก็เสี่ยงโชควัดดวงย้ายถิ่นฐานเข้ามาหางานท า จนต่อมาราชการ

                                                                                          ื้
                                ุ
               ประกาศให้จังหวัดอบลราชธานี เป็นหนึ่งในโครงการพัฒนาพื้นที่เขตเศรษฐกิจเฉพาะ และพนที่เชื่อมโยงทาง
                                                ุ
               เศรษฐกิจกับประเทศเพอนบ้าน หรือให้อบลราชธานี เป็นประตูไปสู่อินโดจีน ไล่ยาวมาตั้งแต่คุนหมิง ในประเทศ
                                  ื่
                                                               ี
               จีน ผ่านพม่ามาไทย ผ่านเมืองหลักทางภาคเหนือมายังภาคอสาน จุดรวมอยู่ที่จังหวัดอบลราชธานี ก่อนแยกย้าย
                                                                                   ุ
               ไปลาว เขมร และเวียดนาม
                       โครงการนี้กระตุ้นให้เกิดการตื่นตัว ต่อทั้งหน่วยงานรัฐและเอกชนเป็นอย่างมาก พื้นที่ว่างเปล่าของ
               รัฐที่ชาวบ้านอยู่อาศัยมานานกว่า 40 ปี ก็มีแผนที่จะน าไปพฒนา ส่วนเอกชนก็มีการกว้านซื้อที่ดินจาก
                                                                   ั
                          ื่
                                                              ั
               ชาวบ้าน เพอน าไปสร้างโรงแรม หรือตุนไว้รองรับการพฒนาตามโครงการดังกล่าว ชาวบ้านหลายชุมชน
               นอนไม่หลับ เพราะกระแสการไล่รื้อชุมชนมีอยู่ตลอดเวลา
                       จากสถานการณ์ที่นายทุนเข้ามากว้านซื้อที่ดินจากชาวบ้าน ที่ดินของรัฐว่างเปล่าซึ่งชาวบ้านอาศัยอยู่
               เดิม ก็เริ่มมีข่าวว่าจะน าไปใช้ประโยชน์ รองรับการขยายตัวของเมือง อันเนื่องมาจากโครงการเปิดประตูสู่อนโด
                                                                                                    ิ
                                                ั
               จีน แผนการทั้งหมดถูกวางมาจากสภาพฒน์ฯ ที่กรุงเทพ  โดยที่ชาวบ้านซึ่งเป็นผู้แปงบ้านแปงเมืองอยู่แต่เดิม
               ไม่มีโอกาสมีส่วนร่วมในการจัดการกับชีวิตของตนเองเลยแม้แต่น้อย ประกอบกับก่อนหน้าประมาณ พ.ศ.2526

               มีการพฒนาเมืองอบลราชธานี หลังไฟไหม้ครั้งที่ 3 ย่านเมืองเก่าวัดสงัด น าไปสู่แผนการรื้อย้าย ชุมชนย่านนั้น
                     ั
                               ุ
               ทั้งหมด โดยมีนักธุรกิจอยู่เบื้องหลังท าให้คนกว่า 500 ครอบครัว ไร้ที่อยู่อาศัย ต้องหอบลูกจูงหลานไปหาที่อยู่
               ใหม่


               ถักทอคนจน ลุกขึ้นปกป้องบ้านเฮือน
                                                                           ุ
                       ในช่วงต้นปี พ.ศ. 2541 นับเป็นก้าวที่ 2 ของชุมชนแออดเมืองอบลราชธานี ที่พฒนามาจากช่วงตั้ง
                                                                                        ั
                                                                    ั
                                                         ื่
               รกรากอาศัยแบบธรรมชาติ สู่การรวมกลุ่มกันเพอสร้างพลังแห่งการต่อสู้เรื่องสิทธิที่อยู่อาศัย โดยการ
                                                            ั
               สนับสนุนการพฒนาของมูลนิธิพฒนาที่อยู่อาศัย นักพฒนาได้ลงท างานชุมชนแออดทั้งฝั่งอบลราชธานี และ
                                          ั
                            ั
                                                                                          ุ
                                                                                   ั
               วารินช าราบ เพอน าไปสู่การหนุนเสริมด้านความเข้มแข็ง จนกระทั่งชุมชนแออดจากทั้งสองเทศบาล ได้
                                                                                  ั
                             ื่
                                                                        ื่
               รวมตัวกันในนาม “เครือข่ายชุมชนแออดจังหวดอบลราชธานี” เพอร้อยเกี่ยวกิจกรรมของทั้ง 15 ชุมชน
                                                       ั
                                                 ั
                                                          ุ
               ให้มีพลังมากขึ้น มีการหนุนเสริมซึ่งกันและกัน รวมทั้งได้มีการสร้างพลังใหม่ๆ ให้เกิดขึ้น มีการเข้าร่วมเป็น
               สมาชิก “เครือข่ายสลัม 4 ภาค” ซึ่งเป็นองค์กรชาวบ้านที่ต่อสู้การแก้ปัญหาชุมชนแออัดไปสู่ระดับนโยบาย
                                                                                         ั
                       การส ารวจข้อมูลชุมชนแออดอบลราชธานี ซึ่งได้รับการสนับสนุนจากส านักงานพฒนาชุมชนเมือง
                                             ั
                                                ุ
               (พชม.) การเคหะแห่งชาติ ท าให้ทราบรายละเอยดของข้อมูลและปัญหาที่จะน าไปสู่การวางแผนพฒนา
                                                                                                   ั
                                                        ี
               พบว่า แต่ละชุมชนมีความถนัดและศักยภาพที่ต่างกันออกไป ท าให้กิจกรรมของชุมชนแต่ละแห่งมีความ
               หลากหลายตามสภาพของปัญหา เช่น ชุมชนลับแล จะเน้นเรื่องเยาวชนต้านยาเสพติด ชุมชนเกตุแก้วและ
   2   3   4   5   6   7   8   9   10   11   12