Page 3 - วิกฤติ วิถีชีวิตชาวเล
P. 3

วิกฤติ วิถีชาวเล                                     วิกฤติ วิถีชาวเล



                            วิกฤติ วิถีชาวเล


                                      โดย
                             ปรีดา คงแป้น และคณะ

                                ค�ำนิยม





           วิกฤตวิถีชาวเลสะท้อนวิกฤตสังคมไทย
                ปรีดา คงแป้น และคณะ ได้สัมผัสชีวิตของคนเล็กคนน้อย คนยากคนจน

           คนด้อยโอกาส คนชายขอบ คนไร้รัฐ และคนถูกทอดทิ้งอีกนานาประเภทมาเป็น
                         �
                                                       ื
           เวลาช้านาน และนามาบอกกล่าวให้สังคมได้รับรู้ด้วยความเอ้ออาทร ท้งต่อคน
                                                               ั
                                                            ี
                                                            ้
                                                ื
                           ี
           ทุกข์ยาก และต่อคนท่ไม่รู้ถึงความทุกข์ยากของเพ่อนมนุษย์เหล่าน ถ้าท่านได้
           อ่านวิกฤตวิถีชีวิตชาวเลที่รวบรวมไว้ในหนังสือเล่มนี้ แล้วลองสมมติว่าตนเองเป็น
                    ึ
                             ั
           ชาวเลคนหน่งในเขาเหล่าน้น จะรู้สึกถึงเคร่องจักรกลอันมหึมาของการพัฒนาท่เอา
                                                                 ี
                                        ื
                                          ี
           เงินเป็นตัวต้ง ท่กาลังบีบวิถีชีวิตของชาวเลท่อยู่กับธรรมชาติชายฝั่งทะเลอันดามัน
                   ั
                      ี
                       �
           ของประเทศไทยมาช้านาน เข้ามาทุกที บีบคั้นทั้งที่อยู่อาศัย บีบคั้นทั้งการท�ามา
                                 ั
                                                  ี
           หากิน และเศรษฐกิจ บีบค้นท้งสุสานของบรรพบุรุษท่จิตวิญญาณยังสัมพันธ์อยู่
                              ั
           กับลูกหลานของเขา การบีบคั้นวิถีชีวิตทุกทิศทุกทางเช่นนี้ ต้องถือเป็นการฆ่าล้าง
           เผ่าพันธุ์ (genocide) กันทีเดียว
                ที่จริงการพัฒนามันไม่จ�าเป็นต้องเป็นเช่นนั้น
                ประเทศไทยมีทุนต่างๆ มากพอ ท้งทุนทางธรรมชาติแวดล้อม ทุนทางสังคม
                                       ั
           ทุนทางวัฒนธรรม ทุนทางศาสนธรรม ทุนภาครัฐ ทุนภาคธุรกิจเอกชน เป็นต้น ที่
                    ี
           มากเกินพอท่จะพัฒนาโดยเคารพศักด์ศร และคุณค่าความเป็นมนุษย์ของคนทุก
                                        ี
                                      ิ
           คน และจัดการการพัฒนาที่คนไทยไม่ทอดทิ้งกัน ทุกคนได้รับประโยชน์ และเป็น
           ประโยชน์ต่อกัน และกัน เกิดการอยู่ร่วมกันอย่างสมดุลทั้งระหว่างคนกับคน และ
           ระหว่างคนกับสิ่งแวดล้อม อันเป็นการพัฒนาที่ยั่งยืน
   1   2   3   4   5   6   7   8