Page 10 - เล่าประสบการณ์เครือข่ายชุมชนจัดการสิ่งแวดล้อมจังหวัดปทุมธานี
P. 10

10            เลำประสบกำรณ เครือข่ำย จัดกำรสิ่งแวดล้อมชุมชน จังหวัดปทุมธำนี                  เลำประสบกำรณ เครือข่ำย จัดกำรสิ่งแวดล้อมชุมชน จังหวัดปทุมธำนี







                         อย่างไรก็ตามการท�างานพัฒนาชุมชนจะให้ประสบความส�าเร็จ
                       ั
                           ิ
                    ได้น้น ส่งส�าคัญคือ ผู้น�า แกนน�า ในการเข้ามามีส่วนร่วมรับฟังความ
                    คิดเห็น ร่วมท�า ร่วมรับผิดชอบ ที่เครือข่ายเน้นมากที่สุดคือ ให้เกียรติ

                    ซึ่งกันและกัน เพราะแกนน�าทุกคน ทุกชุมชนไม่ว่าจะเป็นทางการหรือ
                    ตามธรรมชาติ ย่อมได้รับความไว้วางใจของชุมชนมาแล้วและสามารถรู้
                                         ื
                                                                         ี
                    ปัญหาความต้องการของพ้นท่ของตนเองอย่างแท้จริง การท�างานท่ผ่าน
                                            ี
                    มาของเครือข่ายในแนวทางนี้ ได้รับการยอมรับและความร่วมมือด้วยดี
                    เสมอมา นอกจากนั้นการสรุปบทเรียนการท�างานสม�่าเสมอ ส่งผลไปยัง
                    การขยายการสนับสนุนในระดับท้องถิ่น และสังคมในวงกว้างอีกด้วย
                         จากเหตุการณ์มหาอุทกภัย ปี 2554 เครือข่ายได้มีปรับตัวและ

                                         ั
                                                                        �
                                                                  ี
                                                                          ื
                    ท�างานได้อย่างรวดเร็ว จดตงเป็นศูนย์ประสานงาน มแกนนาพ้นท  ี ่
                                            ้
                                            ั
                    แกนน�าประสานงานภายในภายนอก ตลอดจนการประสานความร่วม
                    มือเพื่อนพ้องน้องพี่ ภาคีเครือข่ายฯ ในการให้ช่วยเหลือผู้ที่ได้รับความ
                                    ั
                    เดือดร้อนได้อย่างท่วถึง มีข้อมูลแท้จริง จากเหตุการณ์ในคร้งน้นคณะ
                                                                     ั
                                                                       ั
                    ท�างานเครือข่ายฯได้รับการยอมรับมากข้น เกิดคนท�างานอาสาสมัคร
                                                     ึ
                    เพิ่มจ�านวน 30 คน ตลอดจนได้ขยายพื้นที่การท�างานในระยะเวลาต่อ
                    มา
                         ด้านการส่งเสริมสนับสนุนกิจกรรมพื้นที่ เป็นสิ่งที่ส�าคัญประการ

                    หนึ่ง ที่จะต้องเน้นปัญหาความต้องการ ใช้กิจกรรมเล็กๆ เป็นเครื่องมือ

                    ในการสร้างการมีส่วนร่วม ของชุมชน สามารถท�าเองได้ สร้างจิตส�านึก
                    อาสา ดังน้นกิจกรรมเร่องการส่งเสริมและสนับสนุนการด้านพัฒนาส่ง
                                                                            ิ
                                       ื
                             ั
                    แวดล้อม เป็นกิจกรรมแรกๆ ที่ด�าเนินงาน ไม่ว่าจะเป็นการคัดแยกขยะ
                                              �
                                      �
                    ครัวเรือน การจัดการน้าเสียโดยน้าหมักชีวภาพ การติดต้งถังดักไขมันราย
                                                                ั
                    ครัวเรือน การฟื้นฟู และพัฒนาแม่น้าคูคลอง ซ่งเป็นปัญหาร่วมเกือบทุก
                                                �
                                                         ึ
   5   6   7   8   9   10   11   12   13   14   15