Page 310 - Research Chaola Andaman
P. 310
ี่
ี่
ี่
ภาพท 5 ภาพแสดงเรื่องเล่าทมาของชาวอูรักลาโว้ย ทมาโรงเรียนบ้าน
เกาะหลีเป๊ะ
ิ
อูรักลาโว้ยเป็นค าใช้เรียกชื่อกลุ่มชนชาตพนธุ์ชาวเล หมายถึง ชาว
ั
ทะเล เรียกสั้นๆว่าชาวเลอูรัก แปลว่า คนลาโว้ย แปลว่า ทะเลในประเทศ
ั้
ี่
ไทย คนทอยู่อาศัยบนเรือเร่ร่อนไปในทะเลทงหมดมักจะถูกเรียกรวมว่า
“ชาวเล” ชาวอูรักลาโว้ยมักจะถูกรวมกลุ่มเดียวกับชาวมอแกน และมอเกล็น
่
ี่
แม้ว่าพวกเขาจะมีตนก าเนิดและวัฒนธรรมทตางกันแตด้วยลักษณะการอยู่
่
้
ื้
ั
อาศัยในแถบริมชายฝั่ง พนที่เกาะแก่ง และล่องเรือ จึงมักเรียกรวมกนใน
นามว่า “ชาวเล”
ื้
ชาวอูรักลาโว้ยอาศัยตามพนทเกาะและแถบทะเลอันดามันไม่น้อย
ี่
กว่า 300 - 500 ปี จากการสัมภาษณ์นายอูหนา แซ่โก๋ย(กันยายน:2563)
้
โตะหมอจัดงานประเพณีลอยเรือมีความเชื่อว่าตนก าเนิดของชาวอูรักลา
๊
ู
ู
โว้ยได้เดินทางมาจากภเขา “ฆณุงญึรัย”ปัจจุบันคือรัฐเคดะห์ประเทศ
มาเลเซีย แตได้โยกย้ายล่องเรือตามทะเลอันดามันจากการทสมัยก่อน
ี่
่
่
ู
่
ชาวเลได้อาศัยอยู่อย่างมีความสุข แตมีทตทานหนึ่งเดินทางมาและ
ชักชวนให้ชาวบ้านพระเจ้าองค์หนึ่ง แตชาวบ้านปฏเสธจึงถูกสาปแช่งให้
ิ
่
ตองกลายเป็นลิง กระรอก คนป่า และคนทะเลล่องเรือเร่ร่อนจนมาสร้าง
้
ี่
่
ถิ่นฐานเป็นบ้านแห่งแรกทบ้านหัวแหลม เกาะลันตา จังหวัดกระบี่ ตอมา
โยกย้ายเรื่อยๆไปทั่วท้องทะเลอันดามัน
ู
ั
ดังนั้นอูรักลาโว้ยมีความผูกพนธ์กับค าว่า “ฆณุงญึรัย”เพราะเชื่อว่า
บรรพบุรุษได้เดินทางมาจากดินแดนนี้ จึงมีพธีกรรมเป็นเทศกาลประเพณี
ิ
ลอยเรือเรียกภาษาชาวอูรักลาโว้ยว่า “ปาจั๊ก” ซึ่งเป็นการส่งดวงวิญญาญ
บรรพบุรุษเดินทางไปสู่ดินแดน “ฆูณุงญึรัย” ด้วยเรือทสร้างจากไม้ระก า
ี่
เรียกว่า “ปราฮูกูมอ” หรือบางครั้งเรียกว่า “ปราฮูปาจั๊ก”
6.1.3การตั้งถิ่นฐานของชาวเลเกาะหลีเป๊ะ