Page 4 - กระบวนการเตรียมชุมชนพร้อมรับมือภัยพิบัติ
P. 4

กระบวนการเตรียมชุมชน พรอมรับมือภัยพิบัติ



            กวาจะเปน บานนํ้าเค็มอยางทุุุุุุุุุุุุุุุุุุุุุุุุุุุุุุุุุุุุุุุุกวันนี้
     4 4 4



                  ชุมชนบานนํ้าเค็ม ต.บางมวง อ.ตะกั่วปา จ.พังงา เปนชุมชนผูประสบภัย

            สึนามิ ที่มีโอกาส “เรียนรู ทามกลาง การลงมือทํา” จนสามารถพลิกวิกฤติเปน
                     ี
                                                                ื
            โอกาส เปล่ยนจากผูประสบภัยเปนผูให และออกไปชวยเหลือคนอ่นๆ เปนตนแบบ
                                                                   ั
            ของศูนยเรียนรูของชุมชนดานการเตรียมพรอมรับมือกับภัยพิบัติท้งในประเทศ
            และตางประเทศกวา 30 ประเทศ
                  โดยชุมชนบานน้าเค็มเร่มกระบวนการของชุมชนจากการเผชิญกับวิกฤต ิ
                                     ิ
                               ํ
            ภัยพิบัติ-การฟนฟู และการทําแผนเตรียมความพรอม แตชุมชนบานนํ้าเค็มหวัง
            วา สําหรับชุมชนที่ยังไมมีประสบการณรับมือกับภัยพิบัติ การเริ่มกระบวนการฯ
            ของชุมชน ควรจะเร่มจากการทําแผนเตรียมพรอมรับมือภัยพิบัติ-การซอม-การ
                             ิ
            รับมือกับภาวะวิกฤติ-การฟนฟู เพื่อที่จะไมเกิดความสูญเสียอยางบานนํ้าเค็ม

            หลักการสําคัญของการจัดการภัยพิบัติ



                                                          ื
                  สําหรับชุมชนการเตรียมพรอมรับมือภัยพิบัติเปนพ้นฐานสําคัญในการสราง
                                                             ี
                                                              ี
                                               ั
                          
                                                     ั
                                   
                                                             ่
                                       ื
                                                                  ้
            สขภาวะชมชนใหเกิดความรวมมอในการจดการทรพยากรทมอย ทงภายใน และ
                                                                  ั
              ุ
                     ุ
                                                                
                                                                ู
            ภายนอกชุมชน เชน ทรัพยากรธรรมชาติ ทรัพยากรทุน ชุมชน ทรัพยากรทุนทาง
            สังคม ทรัพยากรทางการเงิน การบรรเทาทุกข และสนับสนุนกระบวนการฟนฟูวิถ ี
            ชีวิตโดยชุมชนผูประสบภัยเปนแกนหลัก ดวยการสนันสนุนใหชุมชนผูประสบภัย
            “ตั้งทีม” ลุกขึ้นมารวมกลุมแกปญหาดวยตนเองตั้งแตตน และสนับสนุนใหเครือ
                                               ุ
                                                 
                                                                      
                                                          
                                                                        ั
                                                      
                       ื
                         
                         ู
            ขายชมชนหรอผทมจตอาสาอนๆ เขาไปหนนชวยอยางเปนระบบ ภายใตหลกการ
              
                 ุ
                           ่
                                    ่
                                    ื
                                         
                           ี
                            ี
                             ิ
            และเงื่อนไขทั้งสิบประการ คือ
            หนึ่ง  ใหความเดือดรอน เปนเงื่อนไขในการจัดกระบวนการพัฒนาแบบมีสวน
                  รวมของชุมชน เครือขาย องคกรทองถิ่น และภาคีความรวมมือทั้งภาครัฐ
                  ภาคเอกชน
   1   2   3   4   5   6   7   8   9