Page 11 - book kumpong tukwa 2
P. 11

นายนาเซ ตาเยะ (คอลี) มาจากครอบครัวที่ก่อตั้งโรงเรียน
                                                       ่
               สอนศาสนาและส่งคอลี ไปเรียนการศาสนาทีประเทศลิเบีย แต่
                 ่
                            ้
                                          ่
               เมือกลับมาแลวประเทศไทยไมยอมรับวุฒิบัตรจากลิเบีย คอลีจึง
                                                    ่
                                           ่
                                                         ่
               เบนเข็มเป็นชาวสวน บุกเบิกทีดินของพีสาวทีเชิงเขาสุดถนน
                                                                 ่
                                    ่
                                                         ้
               บ้านแยะใน และชวนเพือนบ้านเริมก่อตั้งมัสยิดขึนและเนืองจาก
                                            ่
               มีความรู้ทางศาสนาเป็นอย่างดี เพือนบ้านจึงมอบหมายให้เป็น
                                              ่
               อิหมามทีมัสยิดเล็กๆ สุดปลายถนนกอนจะเขาเขตปารอยตอไทย
                   ่
                                                      ้
                                               ่
                                                            ่
                       ่
                                                                  ่
               มาเลย์ เป็นมัสยิดแห่งที่สามในบ้านกาบัง
                        ่
                    ในทีสุดกลางปี ๒๕๕๓ ผู้ใหญ่ฯ ซะ คอลี ซึงเสมือนเป็น
                                                           ่
               ฟันเฟืองขับเคลื่อนเล็ก ๆ ในชุมชนและมีแรงบันดาลใจจากหลัก
                                                       ่
               การศาสนาน�าการพัฒนาของชุมชนศรัทธา เงือนไขการต่อยอด
               งบด�าเนินงานเพือน�าไปสู่การด�าเนินงานทีต่อเนือง พวกเขาก็ได้
                                                    ่
                                                         ่
                             ่
                                      ่
               ค้นพบวิธีการด�าเนินงานทีคิดว่าจะเกิดประโยชน์สูงสุดกับชุมชน
                                          ่
                      ่
               จึงได้เริมประสานผู้น�าชุมชนสีเสาหลักของชุมชนตามแนวทาง
               เครือข่ายชุมชนศรัทธามาร่วมคิดค้นแนวทางและขั้นตอนการ
                              ้
               ท�างานที่ส�าคัญขึนมา
                    การก่อเกิดงานใหม่ๆ ไม่สามารถที่จะริเริ่มจากความพร้อม
                                                                 ้
               ของคนจ�านวนมากได้ ดังนั้นการคิดค้น การออกแบบเบืองต้น
               จะมีความส�าคัญไม่เช่นนั้น ก็ไม่สามารถริเริมการขับเคลือนได้
                                                                  ่
                                                      ่
                    ่
               แต่เมือคิดค้นหรือจุดประกายได้แล้ว ต้องขยายวงปรึกษา
                                            ้
               สร้างการมีส่วนร่วมที่กว้างขวางขึน เพื่อการได้พลังของชุมชน





                               อิตติฮาด  ชุมชนศรัทธา  11
                                          “กัมปงตักวา”
   6   7   8   9   10   11   12   13   14   15   16