Page 5 - ชุมชนศรัทธา "กัมปง ตักวา" ทางรอดของการแก้ปัญหา
P. 5

เชิงสังคมจิตวิทยา ก็กลับสุดโต่ง มุ่งชนะใจประชาชน ด้วยวิธีการสงเคราะห์  ด้วยโครงการ สงเคราะห์
        ด้วยโครงการประชานิยม และกิจกรรมมากมาย แต่ขาดกระบวนการพัฒนาที่ถูกต้อง ไม่มีความต่อเนื่อง
                                                    ิ
                                   ่
                                               ิ
                                     ็
                                                               ่
        ทำให้ประชาชนอ่อนแอ รวมทั้งความไมเปนเอกภาพในเชงการบรหารเพราะภาคสวนราชการ
                    ่
         ั
        ยงทำงานแบบแยกสวน ขาดการบูรณาการทั้งงบประมาณและบุคลากร ต่างฝ่ายต่างคิด ต่างฝ่ายต่างทำ
        ผลกรรมสุดท้ายตกอยู่กับประชาชน และก็ไม่ได้ชนะใจประชาชนใดๆ ทั้งสิ้น กลับเพิ่มความ
        ไม่น่าเชื่อถือด้วยซ้ำไป”
               แล้ว  ยังชี้ให้เห็นอีกด้วย  ว่าการพัฒนาที่แล้วมาล้มเหลว  เพราะขาดมิติ
                                         ่
                         ่
                                            ิ
                                          ้
                                                             ้
                                                            ู
                                                      ู
        ของศาสนธรรม ขาดการมีสวนร่วมของประชาชน ไมไดเปดโอกาสให้คณะผ้นำในหม่บาน (ผู้ใหญ่บ้าน
        โ ต๊ ะ อิ ห ม่ า ม   ผู้ แ ท น อ บ ต .   แ ล ะ ผู้ น ำ ธ ร ร ม ช า ติ )   ไ ด้ แ ส ด ง บ ท บ า ท ร่ ว ม กั น
               กระบวน  การพัฒนาที่เอกสารนี้นำเสนอ  เป็นกระบวนการที่พื้นที่เป็นหลัก
        มีส่วนร่วมของประชาชนในพื้นที่เป็นสิ่งสำคัญ  โดยใช้การศาสนาเป็นกรอบที่อ้างอิง
                                                                ้
        ของกิจกรรมการพัฒนา ในการปฏิบัติงานให้ ๔ เสาหลัก คือ ผู้ใหญ่บ้าน โต๊ะอิหม่าม ผแทนอบต.
                                                                ู
                                                     ื
                                                     ่
                                  ั
                                                  ื
                                               ็
                                     ั
                                                  ่
                    ิ
                         ่
            ้
            ู
                           ั
        และผนำธรรมชาตทำงานรวมกน โดยอาศยหลกการศาสนาเปนเครองเชอมความสามัคคี แทนที่การ
        แบ่งอำนาจและการใช้อำนาจซึ่งมักทำให้เกิดความขัดแย้ง
               ผมคิดว่าการนำเอาหลักศาสนาที่ถูกต้องและวัฒนธรรมเป็นหลักในการพัฒนาแทนเงนตรา
                                                                  ิ
        และอำนาจ การที่เอาคุณธรรมนำเศรษฐกิจ จะทำให้เกิดการพัฒนาที่แท้จริงและยั่งยืนขึ้นได้ ความขัด
        แย้งระดับชาติจะแก้ไขได้ก็ด้วยการสร้างชุมชนเข้มแข็ง มีความสามัคคี และพึ่งตนเอง
               “ความจริงคนในพื้นที่ไม่ได้แยกระหว่างเรื่องทางโลกกับทางศาสนธรรม
        แต่กระบวนการของระบบประเทศเราจะแยกเรื่องทางโลกและทางธรรมออกจากกัน
        ทำให้เรื่องของคุณธรรม จริยธรรม ก็ไปอยู่มุมหนึ่ง จะไม่มายุ่งเกี่ยวกับเรื่องของงานพัฒนาอันนี้เป็นจุดอ่อน
        อย่างย่งของการปกครอง  เช่นเดยวกันในระดบหม่บ้าน/ชุมชน  ผ่านศาสนา
                                   ี
                                                  ู
              ิ
                                              ั
                          ื
                                           ุ
                             ี
        หรือโต๊ะอิหม่าม  จำกัดพ้นท่ของการทำงานจะม่งเพียงแต่ในเร่องของพิธีกรรมศาสนา
                                                      ื
        โดยไม่มายุ่งเกี่ยวกับปัญหาความเป็นอยู่ของคนในหมู่บ้านเท่าใดนัก  เป็นการแยกส่วนกัน
        โดยสิ้นเชิง  แต่ในกระบวนการของ  “หมู่บ้าน/ชุมชนศรัทธา”  จะไม่มีการแยกส่วน
        และให้มีบูรณาการเป็นเนื้อเดียวกันได้
                                               (ดร.ม.ร.ว.อคิน รพีพัฒน์)
   1   2   3   4   5   6   7   8   9   10