Page 15 - คู่มือการจัดการภัยพิบัติโดยชุมชน
P. 15

15
                                             15
                                                ิ
                                   คู่มือการจัดการภัยพบัติโดยชุมชน
                (1) ฝ่ายเฝ้าระวัง มีหน้าท่สังเกตความผิดปกติของธรรมชาต เช่น นาทะเล ติดตาม
                                    ี
                                                              ิ
                                                                   ้
                                                                   �
                                                      �
                                                                             ื
                    ข่าว หากมีการเตือนให้อพยพ ต้องไปสังเกตนาทะเลว่าแห้งผิดปกติหรือไม่เพ่อ
                                                      ้
                    ที่จะได้แจ้งให้ทีมอพยพ (กรณีสึนามิ)
                (2) ฝ่ายรักษาความสงบ จะมีการลาดตระเวนดูแล ปกป้องทรัพย์สิน ดูแลความ
                    เรียบร้อยของทุกคน ท้งในสถานการณ์ปกติและเม่อเกิดเหตุท่ต้องอพยพชาว
                                                                   ี
                                     ั
                                                          ื
                    บ้านออกจากพื้นที่
                                    �
                                   ่
                                   ี
                (3) ฝ่ายจราจร มีหน้าทอานวยความสะดวกในการจราจรขณะอพยพผู้คนออกจาก
                    พื้นที่ โดยประจ�าตามจุดต่างๆ ไม่ให้รถวิ่งสวนทาง จัดระบบให้คนเดินเท้าชิด
                    ขวา ส่วนทางซ้ายรถวิ่ง จนกว่าทีมเฝ้าระวังจะสั่งถอนก�าลัง
                (4) ฝ่ายกู้ภัย มีหน้าที่ช่วยเหลือร่วมกับทีมรักษาความสงบตรวจดูบ้านเรือนทุกๆ
                    ครัวเรือน ตรวจดูผู้คนท่ตกค้าง หรือผู้ด้อยโอกาสท่ไม่สามารถช่วยเหลือตัวเอง
                                                         ี
                                     ี
                    ได้ น�าไปส่งยังจุดปลอดภัย จากนั้นจึงร่วมกับทีมรักษาความสงบ ลาดตระเวน
                    ดูแลทรัพย์สินไม่ให้สูญหายจากผู้ฉวยโอกาส
                                                            ี
                                                   ื
                                     ี
                (5) ฝ่ายพยาบาล มีหน้าท่รักษาพยาบาลเบ้องต้นแก่ผู้ท่ได้รับบาดเจ็บก่อนนาส่ง
                                                                           �
                    โรงพยาบาล
                (6) ฝ่ายสื่อสาร ท�าหน้าที่ใช้วิทยุสื่อสารแจ้งฝ่ายปฏิบัติการ ประสานอาสาสมัคร
                    ในชุมชนแต่ละจุดสั่งชาวบ้านอพยพเมื่อสัญญาณเตือนภัยดังขึ้น
                                      ี
                (7) ฝ่ายอานวยการ มีหน้าท่ประเมินภาพรวมสถานการณ์ร่วมกับชาวบ้านและทีม
                        �
                                                       ิ
                    อาสาท่เป็นแรงงานข้ามชาต ร่วมกันตัดสินใจเร่มหรือส้นสุดการอพยพ หรือถ้า
                         ี
                                                            ิ
                                         ิ
                    คล่นสูงกว่าท่เคยเกิดเหตุในอดีตจะต้องมีการอพยพไปยังท่สูงกว่า ก็จะประสาน
                             ี
                      ื
                                                               ี
                    ไปยัง อบต. หรือโรงเรียนตะกั่วป่าเสนานุกูลซึ่งเป็นจุดอพยพต่อไป
                                                     ื
                                                                 ้
                                                                 ั
                  โครงสร้างการบญชาการทควรจะเป็นคอ หน่วยงานทงภาครัฐและภาค
                                 ั
                                          ่
                                          ี
              เอกชนที่มีฐานที่มั่นอยู่นอกชุมชน  ควรจะท�าหน้าที่สนับสนุน เป็นจุดเชื่อมต่อ (node)
              ให้ชุมชน ไม่ใช่ทั้งหมดลงไปยังหน้างานในชุมชน กล่าวคือ ในการซ้อมการรับมือคลื่น
                                                        ี
                                                         ั
                                                                  ื
              สึนามิท่ชุมชนบ้านนาเค็ม แต่ละหน่วยควรประจาฐานท่ม่นของตน เพ่อประสานส่งต่อ
                                                  �
                    ี
                             �
                             ้
                                  ิ
                            �
                                           �
              กับหน่วยงานประจาท้องถ่นหรือประจาจังหวัด เช่น หน่วยแพทย์ฉุกเฉินและกู้ชีพกู้ภัย
                                                      �
                                                 �
                     ี
               �
                                           ื
              ทาหน้าท่ส่งผู้ป่วย ผู้ประสบภัยและเคร่องมือจาเป็นสาหรับการกู้สถานการณ์หลังจาก
              ที่คลื่นลูกใหญ่ผ่านเข้ามา
   10   11   12   13   14   15   16   17   18   19   20