Page 10 - คู่มือการจัดการภัยพิบัติโดยชุมชน
P. 10

10
                                          10
                                             ิ
                                คู่มือการจัดการภัยพบัติโดยชุมชน
             •  แผนการการจัดการภัยพิบัติ ควรมีสามระยะคือ ระยะเตรียมรับมือก่อนเกิด
                 ภัย ระยะเผชิญหน้า และระยะฟื้นฟูชุมชน
                                               ี
              •  การเตรียมรับมือ : เตรียมสถานท่อพยพ เตรียมวิธีการอพยพ เตรียม
                    อาหารส�าหรับคนและสัตว์ เตรียมเรือแพ /รถ เตรียมระบบเตือนภัย ฯลฯ

              •  ระยะเผชิญหน้า : ระบบการผลิตหรือจัดท�าอาหาร การจัดการศูนย์พักพิง
                                                                         ื
                    การจัดการระบบความปลอดภัยทรัพย์สินและชุมชน การจัดการเคร่อง
                    อุปโภคบริโภค การจัดการสุขาภิบาลน�้าเสีย สุขภาพอนามัย การประสาน
                    การช่วยเหลือกับภายนอกฯลฯ
                                                                    ุ์
              •  ระยะฟื้นฟู :  การซ่อมแซมบ้าน ฟื้นระบบเกษตร จัดหาเมล็ดพันธ ปรับปรุง
                    ระบบสาธารณูปโภค พัฒนาอาชีพฯลฯ



              การท�าคู่มือชุมชนส�าหรับจัดการภัยพิบัติ สามารถท�าได้ทั้งหนังสือ หรือแผ่นป้าย
           ติดไว้ในสถานที่ส�าคัญในชุมชน เผยแพร่ให้สมาชิกเข้าถึงข้อมูลที่รวบรวมมาได้โดยทั่ว
           กัน เป็นแผนส�ารองที่สามารถท�าให้ทุกคนประสบภัยโดยสวัสดิภาพได้ รายละเอียดที่
                                  ี
                                                                   ี
                                                                 ื
           จะปรากฏต่อไปเป็นแนวทางท่ถอดจากประสบการณ์การฟื้นฟูชุมชนในพ้นท่ประสบภัย
           ต่างๆ ทั่วประเทศ ในการให้ชุมชนได้เริ่มต้นท�าคู่มือการจัดการภัยพิบัติโดยชุมชนของ
           ชุมชนและเพื่อชุมชนตนเอง

                    กระบวนการเตรียมชุมชนเพื่อเตรียมพร้อมรับมือภัยพิบัติ


             การเตรียมรับมือ      ระยะเผชิญหน้า         ระยะฟื้นฟู

             1. ค้นหาอาสาสมัคร    1.จุดนัดหมาย (ศูนย์พักพิง)  1. วิเคราะห์ข้อมูล
             2. ท�าข้อมูลชุมชน    2. โรงครัว            2. ท�าแผนฟื้นฟู
             3. พัฒนาอาสาสมัคร    3. การกู้ภัย          3. จัดระบบองค์กร
             4. ประสานหน่วยงาน/ภาคี  4. การจัดท�าข้อมูล  4. การซ่อมแซมบ้าน
             5. ท�าแผนพัฒนาต่อเนื่อง  5. การเดินทาง     5. การฟื้นฟูอาชีพ
                                  6. การจัดการของบริจาค
                                  7. การจัดระบบชุมชน
   5   6   7   8   9   10   11   12   13   14   15