Page 5 - คู่มือการจัดการภัยพิบัติโดยชุมชน
P. 5

05
                                             05
                                   คู่มือการจัดการภัยพบัติโดยชุมชน
                                                ิ

                                          ค�ำน�ำ




                                                  ี
                                      ึ
                                        ั
                                                                  ึ
                                                                    �
                ภัยพิบัติมีแนวโน้มเกิดมากข้นท่วโลก ความถ่และรุนแรงเกิดมากข้น จานวนผู้ได้รับ
                                                              ึ
                           ึ
              ผลกระทบก็มากข้น ในประเทศไทย เหตุภัยพิบัติต่างๆ เกิดมากข้นและทวีความรุนแรง
              ขึ้นเรื่อยๆ ทั้งเหตุภัยพิบัติสึนามิ ดินโคลนถล่ม ไฟไหม้ป่า น�้าท่วมจากเหตุฝนตกมาก
                                                                 ิ
                                                              ั
                    ่
                    ื
                         �
                                                            ั
                                                    ื
                                         ุ
                         ้
                                          ั
               �
                                                                          ุ
              นาล้นเขอน นาป่าไหลหลาก พายพดถล่มบ้านเรอน รวมท้งภยพบติจากเหตความ
                                                                  ั
               ้
              รุนแรงทางการเมืองและสังคม เป็นต้น ซึ่งสร้างความเสียหายให้กับชีวิตและทรัพย์สิน
              อย่างประเมินค่ามิได้ ภัยพิบัติจึงมิใช่เรื่องไกลตัวส�าหรับคนไทยอีกต่อไป
                                                                  ี
                                  ี
                ชุมชนเป็นด่านแรก ท่จะได้รับผลกระทบจากภัยพิบัต ในขณะท่การจัดการท่มา
                                                                            ี
                                                          ิ
                                                                    ั
              จากศูนย์กลาง ไม่สามารถตอบสนองต่อความต้องการของชุมชนได้ท้งหมด ดังนั้น
              การจัดการความเสี่ยงโดยชุมชนเอง จึงเป็นทางเลือกหลักในการจัดการภัยพิบัติ การ
              สนับสนุนให้ชุมชนผู้ประสบภัย ลุกขึ้นมารวมกลุ่มแก้ปัญหาด้วยตนเองตั้งแต่ต้นจะน�า
              ไปสู่การพัฒนาอย่างต่อเนื่องของชุมชนและเครือข่ายได้อย่างยั่งยืน
                การจัดทาคู่มือการจัดการภัยพิบัติโดยชุมชนฉบับน เป็นการรวบรวมประสบการณ์
                       �
                                                       ี
                                                       ้
                                                        ื
              จากชุมชนเครือข่ายผู้ประสบภัยท่เข้าร่วมโครงการขับเคล่อนเครือข่ายชุมชนสู่ข้อเสนอ
                                       ี
                                                                             ื
                                                                   ี
                                                                             ่
                                                  ่
                                                  ื
                                               ั
                              ิ
                               ั
                                ิ
                      ั
              นโยบายจดการภยพบต และพนทประสบภยอนๆ ในประเทศไทย มเป้าหมายเพอ
                           ั
                                      ื
                                      ้
                                        ี
                                        ่
                                                     ี
              เตรียมความพร้อมให้กับชุมชนและหน่วยงานภาคีท่เก่ยวข้องกับภัยพิบัติได้มีการสร้าง
                                                      ี
              การป้องกันและลดความเสี่ยงภัยพิบัติ ลดความสูญเสียจากภัยพิบัติที่เกิดขึ้น
                  ู
                                                                 ้
                   ื
                  ่
                คมอฉบบน ประกอบดวยกระบวนการเตรยมชมชนเพอเตรยมพรอมรบมอภยพบต      ิ
                                                                            ิ
                                                                         ั
                                                                    ั
                                                                       ื
                       ั
                                  ้
                                                   ุ
                                                         ่
                                                         ื
                                                ี
                                                             ี
                         ้
                                                                             ั
                         ี
              ตั้งแต่ก่อนเกิดภัย ช่วงวิกฤติ และหลังภัยพิบัติ พร้อมทั้งยกตัวอย่างในแต่ละเรื่องจาก
                                                  ึ
              บทเรียนชุมชนประสบภัยต่างๆ ไว้เป็นแนวทาง ซ่งหวังว่าเม่อชุมชนอยู่ในภาวะประสบ
                                                          ื
              ภัย ชุมชนสามารถจัดการกับภัยพิบัติได้ด้วยตัวชุมชนเอง
                                                           ธิดารัตน์ รัดไว้
                                                            บรรณาธิการ
                                                            มีนาคม 2560
   1   2   3   4   5   6   7   8   9   10