Page 9 - คู่มือการจัดการภัยพิบัติโดยชุมชน
P. 9

09
                                             09
                                                ิ
                                   คู่มือการจัดการภัยพบัติโดยชุมชน
                1    ท�ำไมต้องท�ำแผนกำรจัดกำรภัยพบัติโดยชุมชน
                                                            ิ



                                                                    ้
                                                                    �
                         �
                                              ิ
                                                ั
                บทเรียนสาคัญจากเหตุการณ์ภัยพิบัต ท้งภัยพิบัติสึนาม และภัยนาท่วม คือผู้ท ่ ี
                                                            ิ
              ประสบภัยจะรอรับบริการอย่างเดียวไม่ได้เพราะมีผู้เดือดร้อนจานวนมากและในบรรดา
                                                            �
              ผู้เดือดร้อนมีระดับท่แตกต่างกัน มีท้งผู้ท่ช่วยตนเองไม่ได้ ผู้ท่ช่วยตนเองได้ซ่งพร้อมท ่ ี
                                         ั
                              ี
                                                                       ึ
                                             ี
                                                            ี
              จะช่วยคนอื่นได้ด้วย ชุมชนจึงเป็นด่านแรก ที่จะได้รับผลกระทบ ในขณะที่การจัดการ
                     ี
              ภัยพิบัติท่มาจากศูนย์กลาง  ไม่สามารถตอบสนองต่อการแก้ปัญหาและความต้องการ
                         ั
                                                                          ี
                                                                        ี
                         ้
                                                                        ่
                                              ั
                                                                ู
                                                      ั
                                   ้
                                   ั
                                                                 ิ
                  ุ
                                                                            ู
              ของชมชนได้ทงหมด รวมทงอาจละเลยศกยภาพทรพยากรและภมปัญญาทมอย่ใน
                                              ุ
                                                                     ั
                              ั
                                        ี
                                                       ึ
                                        ่
               ุ
                                                                             ิ
              ชมชน ดงนน การจดการความเสยงโดยชมชนเอง จงเป็นทางเลอกหลกในการเตม
                       ้
                       ั
                                                                ื
                     ั
              ช่องว่าง ดังกล่าว
                          �
                         ี
                หลักการท่สาคัญ คือ การบรรเทาทุกข์และสนับสนุนกระบวนการฟื้นฟูวิถีชีวิตโดย
                                                                             ึ
                                                                     ั
              ชุมชนผู้ประสบภัยเป็นแกนหลักด้วยการสนับสนุนให้ชุมชนผู้ประสบภัย “ต้งทีม” ลุกข้น
              มารวมกลุ่มแก้ปัญหาด้วยตนเองตั้งแต่ต้น และสนับสนุนให้เครือข่ายชุมชนหรือผู้ที่มี
                                                         ึ
                                                             �
                         ื
              จิตสาธารณะอ่นๆ ได้เข้าไปหนุนช่วยอย่างเป็นระบบ ซ่งจะนาไปสู่การพัฒนาอย่าง
              ต่อเนื่องของชุมชนและเครือข่ายได้ อย่างยั่งยืน
                ดังนั้น การเปลี่ยนภัยพิบัติเป็น “กระบวนการพัฒนา” ที่เน้นการมีส่วนร่วมของ
              คน ชุมชน เครือข่ายและภาคีความร่วมมือ ควรเป็นยุทธศาสตร์ส�าคัญของทุกหน่วย
                                                    ึ
              งานท่เก่ยวข้อง ซ่งจะทาให้การฟื้นฟูทุกด้านเกิดข้นอย่างรวดเร็วและมีพัฒนาการต่อ
                            ึ
                    ี
                  ี
                                �
              เนื่อง ไปสู่การมีแผนรับมือภัยพิบัติ การจัดการทรัพยากรน�้าและทรัพยากรธรรมชาติ
                                                          �
                               ึ
                                       ู
                                         ั
                               ่
                         ่
                         ั
                  ั
                                                                          ั
                                            ั
              ร่วมกนอย่างยงยืน ซงการฟื้นฟภยพบติโดยชุมชนควรดาเนินการควบคู่ไปกบการ
                                           ิ
              บรรเทาความเดือดร้อนเบื้องต้น
                ผลการทบทวนประสบการณ์ชุมชนและเครือข่าย ในการเตรียมความพร้อมใน
                                                                          �
                                                                  ึ
                                                                     ิ
                                                                             ็
                                                                          ้
                                                                       ้
                         ิ
                        ั
                           ี
                           ่
               ั
              จดการภยพบตทผานมา ทงในและตางประเทศ เชน กรณเหตการณ สนาม บานนาเคม
                       ิ
                    ั
                                                        ี
                                                   ่
                                                                ์
                                                           ุ
                                  ั
                            ่
                                         ่
                                  ้
              จ.พังงา กรณีเหตุการณ์แผ่นดินไหว จังหวัดเชียงราย กรณีเหตุการณ์ดินโคลนถล่ม
              จังหวัดกระบี่ กรณีน�้ากัดเซาะชายฝั่งอ่าวไทย ฯลฯ
   4   5   6   7   8   9   10   11   12   13   14