Page 18 - land is life
P. 18

ที่ดินคือชีวิต ฝ่าวิกฤตที่ดินคนจน [ 18 ]


                                      ิ
                         ื่
               สมบูรณ์ เพอป้องกันภัยพบัติ เป็นแหล่งท่องเที่ยวเชิงนิเวศน์ ที่ชุมชนสามารถจัดการท่องเที่ยวให้เป็น
               ทางเลือกหนึ่งของการท่องเที่ยวหลักได้ ตลอดจนความสมบูรณ์ของป่าชายเลน น ามาซึ่งความสมบูรณ์ของ
                                                                  ื้
               สัตว์น้ าเป็นแหล่งรายได้ของคนจน ที่ประกอบอาชีพประมงพนบ้าน และเป็นแหล่งอาหารของคนภูเก็ตได้
               และที่ส าคัญก็คือการฟนฟและอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม จะเป็นการสร้างเวทีแห่งความ
                                  ื้
                                     ู
               ร่วมมือจากทุกภาคส่วนให้หันมาปกป้องภูเก็ต จากเมืองที่เต็มไปด้วยมลพิษได้
                       จากเหตุผลดังกล่าวข้างต้น เครือข่ายฯ อบจ.ภูเก็ต  อบต. สถาบันการศึกษาในจังหวัด สถาบัน

                 ั
               พฒนาองค์กรชุมชน (พอช.) พมจ.ภูเก็ต มูลนิธิชุมชนไท สถาบันพฒนาทรัพยากรป่าชายเลนที่ 23 กรม
                                                                       ั
                                           ั
               ทรัพยากรทางทะเลและชายฝั่ง พฒนาชุมชนจังหวัดและเครือข่ายสื่อในจังหวัด จึงได้ร่วมกันจัดท าโครงการ
               ปลูกป่าขึ้น โดยปลูกต่อเนื่อง 3 ปี จ านวน 1 ล้านต้น (พ.ศ. 2552 – 2554)
                                                              ื้
                       ในการด าเนินงานจะเริ่มจากการส ารวจข้อมูลพนที่ป่าชายเลน เพอน าไปสู่การจัดการท าแนวเขต
                                                                             ื่
                                                                       ี
               ชุมชนและเขตการอนุรักษ์โดยน าร่องใน 10 ชุมชน และจะขยายผลอก 20 พื้นที่ จากนั้นจะสนับสนุนให้เกิด
               กิจกรรมปลูกป่าตามสภาพความพร้อมของแต่ละชุมชน ควบคู่ไปกับการพฒนาศักยภาพแกนน าชุมชน มี
                                                                             ั
               การหนุนช่วยและแลกเปลี่ยนเรียนรู้ซึ่งกันและกัน ท้ายสุดก็น าไปสู่การสรุปบทเรียนร่วมกัน โดยทุกกิจกรรม
               จะมีการสื่อสารผ่านสื่อต่างๆ ให้สังคมได้รับทราบอย่างต่อเนื่อง


               น าร่อง “จัดการแบบกรรมสิทธิ์ร่วม” ที่โหนทรายทอง
                       ชุมชนโหนทรายทอง มีประชาชนเข้ามาตั้งบ้านเรือนอาศัยอยู่ประมาณ 48 ปีมาแล้ว (ประมาณ
               พ.ศ. 2510) แต่เดิมนั้นชุมชนโหนทรายทองเป็นส่วนหนึ่งของขุมเหมืองดีบุกริมป่าชายเลน แต่เมื่อเจ้าของ

               เหมือนหมดสัมปทานในการท าเหมือง จึงได้ประกาศขายสิทธิ์ให้แก่ประชาชนที่อพยพเข้ามาประกอบอาชีพ
               อยู่จังหวัดภูเก็ตได้เข้ามาจับจองอยู่อาศัย เมื่อประชาชนทราบข่าวการจับจองกรรมสิทธิ์ที่ดิน ก็ชักชวนญาติ
               พน้องคนรู้จักที่ยังไม่มีที่อยู่อาศัย ให้เข้ามาจับจองที่ดินเอาไว้ ในลักษณะของการชี้ต าแหน่งพนที่และจดจ า
                 ี่
                                                                                            ื้
                                                                       ื้
               กันเองว่าส่วนไหนเป็นของใคร (โดยเครือญาติ คนสนิทก็จะอยู่ในพนที่ติดกัน หรือใกล้เคียงกัน) และช าระ
               เงินแก่ผู้จัดการเหมือง (ในราคาตารางวาละ 1 บาท) โดยไม่มีการออกเอกสารในการเป็นเจ้าของสิทธิที่ดิน
                                                                              ื้
               จากหน่วยงานราชาการแต่อย่างใด จวบจนถึงปัจจุบัน รวมทั้งยังถือว่าพนที่ในชุมชนแห่งนี้ (ชุมชนอน
                                                                                                      ื่
                                                                                 ื้
                            ื้
                                                                            ั
               ใกล้เคียงเป็นพนที่บุกรุกป่าสงวนแห่งชาติป่าชายเลน) ท าให้ไม่สามารถพฒนาพนที่ให้มีความเจริญ หรือมี
               ประโยชน์แก่ประชาชนในพื้นที่ชุมชนแห่งนี้มากนัก
                       ในระยะแรกเริ่มนั้น มีผู้บุกรุกเข้ามาอาศัยอยู่ในชุมชนนี้เพยงไม่กี่หลังคาเรือน ปลูกบ้านในลักษณะ
                                                                      ี
               ของบ้านไม้ชั้นเดียวอยู่กลางป่า ไม่มีไฟฟา ประปา หรือถนน มีเพยงทางเดินลัดเลาะผ่านสวนยางพาราและ
                                                                     ี
                                                 ้
               ป่าสงวนแห่งชาติเขาโต๊ะแซะ แต่เมื่อประชาชนที่เคยมาจับจองที่ดินย้ายเข้ามาอยู่อาศัยเพิ่มมากขึ้นเกือบ 20
               หลังคาเรือน ชาวบ้านก็รวมตัวกันเช่าเครื่องปั่นไฟฟา (ติดมิเตอร์จากการไฟฟาอย่างถูกต้องตามกฎหมาย
                                                           ้
                                                                                ้
               เพียงมิเตอร์เดียว แล้วพ่วงไฟใช้ต่อๆ กัน โดยบ้านแต่ละหลังจะมีมิเตอร์วัดจ านวนไฟฟ้าที่ใช้ แล้วไปช าระเงิน
   13   14   15   16   17   18   19   20   21   22   23