Page 10 - เยือนกวานฮาล็อก บางปรอกน่าอยู่
P. 10
ั
ุ
ั
ชมชนชาวมอญในจงหวดปทมธาน ี
ุ
บนประวัตศาสตร์หนึงทีสำคัญของชุมชนบางปรอกก็คอ ทมาของ
ิ
่
่
ี
่
ื
บรรพชนชาวมอญที่ต้องอพยพเข้ามาพึ่งพระบรมโพธิสมภารของ
ราชอาณาจักรไทย
จากประวัติศาสตร์ตอนหนึ่งที่ล่มสลายของอาณาจักรชาวมอญ
้
้
ั
่
่
้
่
ู
่
ซงไดพายแพและตกอยภายใตการปกครองของพมาตงแต พ.ศ.1600 แตการ
ึ
่
้
่
้
็
่
่
ุ
่
ู
้
้
่
รวมตวของชาวมอญในครังสดทายกอนตกอยภายใตของพมาอยางเดดขาด
ั
่
ิ
็
ั
้
ี
ั
้
ึ
ึ
้
้
ั
เกดขนในสมยพระเจาอลองพญา ราวป พ.ศ.2300 เปนตนมา ซงนบจากนน
่
็
กเกดการอพยพของคนมอญครังใหญเขาสประเทศไทย
้
ิ
ู
่
้
การอพยพของชาวมอญเข้าสู่ประเทศไทย ปรากฏเป็นหลักฐาน
ครั้งแรกใน พ.ศ.2127 หลังจากที่สมเด็จพระนเรศวรมหาราชทรงประกาศ
ิ
ื
้
่
็
ั
ั
ั
้
ั
้
ึ
้
อสรภาพ ณ เมองแครง ซงอาจแบงไดออกเปน 3 สมย ทงหมด 9 ครงดวยกน
่
ั
ื
ุ
้
ี
ั
้
ั
ั
คอ สมยอยธยา 6 ครง สมยกรงธนบร 1 ครง และสมยรตนโกสนทร 2 ครง ั ้
ุ
ุ
์
ิ
ั
ั
ี
ั
ั
(ปภสสร เธยรปญญา, 2547)
สำหรับคนมอญ ที่ตั้งรกรากในพื้นที่ชุมชนบางปรอก คาดว่าจะ
์
อพยพเข้าประเทศไทยตังแต่สมยกรงธนบุร และกรุงรตนโกสินทร (วรวฒน ์
ั
ุ
้
ั
ี
ี
ั
ั
ุ
ิ
ั
้
วงศศปไทย,2538) ใน รชสมยของพระบาทสมเด็จพระพทธเลศหลานภาลย
ั
์
ุ
ุ
ั
ั
ในรชกาลแผนดนพระบาทสมเดจพระพทธเลศหลานภาลย รชกาลท ่ ี
ั
็
่
ิ
้
ิ
2 สมิงสอดเบาแกนนำสำคัญชาวมอญ และกรมการเจ้าเมืองขึ้น
เมืองเมาะตะมะได้ชักชวนพวกมอญหลายพันคนยกกองทัพ ไปจับพม่า
ที่ตั้งกอง สึกพระสงฆ์ แล้วฆ่าเสียสิ้นที่เมืองเมาะตะมะ จากนั้นก็พากัน
หนีมาทางเมืองกาญจนบุรีบ้าง อุทัยธานี ตากบ้าง และยังมีครอบครัว
หนุนเนื่องมาอีกเป็นจำนวนมาก
้
ั
ุ
้
ื
ั
ุ
ครงนนเจาเมองกาญจนบร อทัยธานี และตาก จึงมีหนังสือมาทาง
ี
้
กรุงเทพฯ และเจ้าพนักงานมหาดไทยนำความขึ้นกราบบังคมทูล จึงทรง
พระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้พระราชวังบวรฯ เสด็จพระราชดำเนินคุมคน
ç
è
àÂ͹¡ÇÒ¹ÎÒÅÍ¡ ºÒ§»ÃÍ¡¹ÒÍÂÙ è
×
10