Page 8 - land is life
P. 8

ที่ดินคือชีวิต ฝ่าวิกฤตที่ดินคนจน [ 8 ]


               คุรุมิตร เน้นเรื่องการจัดการขยะ ชุมชนท่าวังแดงและคูยาง จะเน้นเรื่องแรงงานนอกระบบ แต่ทุกชุมชนมี
                                                                                            ื้
               ปัญหาร่วมกัน คือ ความไม่มั่นคงในที่อยู่อาศัย ดังนั้นเครือข่ายจึงไม่เพียงเข้าไปเสริมกิจกรรมพนฐานของแต่
                                                                              ื่
                                                                                    ื่
               ละชุมชนให้มีความเข้มแข็งเท่านั้น แต่ยังสนับสนุนให้เกิดการสร้างกิจกรรมอนๆ เพอปูพนฐานไปสู่การต่อสู้
                                                                                        ื้
                                                                                  ื้
                             ี
               เรื่องที่อยู่อาศัยอกด้วย เช่น การตั้งกลุ่มออมทรัพย์ การให้ความรู้เกี่ยวกับสิทธิพนฐานของประชาชน เป็น
               ต้น
                                                                             ื่
                       โครงการ “คนกับล้อ” กิจกรรมแรกๆ ที่เกิดขึ้นที่ชุมชนเกตุแก้ว เพอส่งเสริมอาชีพและสิ่งแวดล้อม
               เนื่องจากชาวบ้านหากินกับการเก็บของเก่าหรือขยะรีไซเคิล โดยมี “รถซุก” หรือ “รถซุกสีเขียว” เป็น
                                                                 ี่
               เครื่องมือท ามาหากิน น าไปสู่การเปิดโกดังรีไซเคิลแห่งแรกทชุมชนเกตุแก้ว และขยายไปสู่สาขา 2 ที่ชุมชน
               คุรุมิตร ในเวลาต่อมาโครงการนี้บริหารจัดการโดยชาวบ้านตั้งแต่รับซื้อ คัดแยก และน าไปขายให้กับพอค้า ท า
                                                                                                 ่
               ให้สมาชิกมีรายได้ มีการต่อรอง ขายได้ราคาที่ดีขึ้น น าเงินผลก าไรบางส่วนไปจัดสวัสดิการให้กับสมาชิก เป็น

                                                           ั
               ศูนย์รวมในการพบปะพดคุย เอาปัญหามาเล่าสู่กันฟง เป็นกุศโลบายในการสร้างชุมชน และเครือข่ายให้
                                   ู
               เข้มแข็ง และยังเกิดผลดีต่อสังคมในการช่วยกันรณรงค์ด้านสิ่งแวดล้อม และช่วยลดขยะให้กับเมือง
               อุบลราชธานี ได้จ านวนมากพอสมควร
                       กลุ่มแรงานนอกระบบ หรือ “จับกัง” หน้าวัดหลวง ซึ่งชีวิตหนึ่งของพวกเขาก็มีความหวัง ที่จะมี

                                                    ี
                                 ื่
               ความสุขเหมือนคนอนๆ แม้พวกเขาจะมีเพยงแรงกายแลกข้าวปลาก็ตาม หวังที่จะมีครอบครัวที่อบอน
                                                                                                      ุ่
                                                                                               ื่
               พร้อมด้วยญาติมิตร หวังที่จะได้รับการดูแลที่ดีจากรัฐ มีสวัสดิการเหมือนข้าราชการ แต่เขาก็สู้เพอให้ได้มา
               ซึ่งสิ่งเหล่านั้นด้วยตัวเขาเอง มีการรวมตัวแบ่งงานกันอย่างเอออาทร มีการสร้างอนาคตโดยน าเงินมาออม
                                                                  ื้
               ร่วมกัน เพอน าไปจัดสวัสดิการให้กับสมาชิกและครอบครัวในยามเจ็บไข้ได้ป่วย กิจกรรมดีๆ เหล่านี้ ยังได้
                        ื่
                                      ุ
                               ื่
               ขยายไปยังชุมชนอนๆ ในอบลราชธานี ซึ่งต่อมาแรงงานนอกระบบยังมีการเชื่อมโยงกับโครงการคนกับล้อ
               โดยการน าวัสดุที่รับซื้อมาปรับปรุงซ่อมแซมให้ใช้งานได้ใหม่ เช่น พัดลม จักรยาน ตู้เย็น รถขายปลาหมึก
               ฯลฯ สร้างรายได้ให้กับชุมชนได้อีกทางหนึ่ง
                       การให้การศึกษาแก่ชุมชนในรูปแบบ “โรงเรียนชาวบ้าน” เป็นทั้งกิจกรรมและกระบวนการพฒนา
                                                                                                   ั
               ทางความคิด ที่ถือเป็นหัวใจส าคัญของเครือข่ายฯ ซึ่งรูปแบบการจัดก็เป็นไปตามธรรมชาติ ใช้ร่มไม้ ศาลา
               เป็นที่พบปะพดคุย บางครั้งก็ท าอาหารกินกัน โดยผู้เข้าเรียนก็เป็นแกนน าชุมชน ส่วนเนื้อหาหลักๆ ก็เอา
                           ู
               ปัญหาในชุมชนมาแลกเปลี่ยนกัน มีการเสริมความรู้จากภายนอก เรียนรู้โครงสร้างโลก ประเทศ ตลอดจน

                                        ั
               ปัจจัยที่ส่งผลกระทบต่อการพฒนา ซึ่งแกนน าชุมชนจะต้องเท่าทัน เพราะนี่คือการติดอาวุธทางความคิด
               ให้กับผู้น าในการฟนฝ่าปัญหา เพอก้าวเดินไปข้างหน้า ซึ่งกิจกรรมด้านการศึกษานี้จะท าควบคู่ไปกับงาน
                                           ื่
                               ั
               ด้านวัฒนธรรม โดยส่งเสริมให้ชาวบ้าน เด็ก เยาวชน ได้ใช้ภูมิปัญญาทางวัฒนธรรม แสดงออกในรูปแบบ
               ของการแสดงและร้องเพลง ร้อยน้ าใจเข้าด้วยกัน โดยเครือข่ายมีการสนับสนุนให้เกิดวงดนตรี “สเลเต”ขึ้น

               เพื่อเป็นแนวรบด้านวัฒนธรรมอีกทางหนึ่ง
   3   4   5   6   7   8   9   10   11   12   13