Page 11 - land is life
P. 11

ที่ดินคือชีวิต ฝ่าวิกฤตที่ดินคนจน [ 11 ]


               นักธุรกิจและหน่วยงานรัฐ ซึ่งเป็นสัญญาณการไล่รื้อดั่งที่ชาวบ้านเผชิญมาแล้วหลายครั้ง และที่เขาเคยคิดว่า
               พมไม้รกร้างแห่งนี้น่าจะอยู่ได้ หลังส ารวจพบแนวโน้มการไล่รื้อชุมชนเกตุแก้ว (เปลี่ยนชื่อจากชุมชนเศษ
                 ุ่
               แก้ว) จึงได้ให้ชาวบ้านทั้ง 40 ครอบครัว ในขณะนั้นรวมตัวกันแก้ไขการถูกไล่รื้อแทนการย้ายหนี
                       “เฮาคนจนผู้บุกเบิกถากถาง แปงที่แปงทางที่รกร้างตุ้มโฮมกันตั้งบ้าน ส่างอาชีพ ส่างหมบ้าน
                                                                                                   ู่
                                                                                   ู่
                                                      ื
                                     ั
               ขึ้นมา อยู่กันกับยอดผักมนแซง...มื่อนี่บ้านเมองเจริญขึ้น ความเจริญมาฮอดหมบ้านซุมเฮา เฮาสิอยู่ใน
               ชุมซนบ้านที่เฮาส่างแปงมากับมอ เฮาซิอยู่ร่วมกันกับเมอง เฮาสิเป็นส่วนหนึ่งที่สิฮ่วมกับคนอนพัฒนา
                                                                                                ื่
                                                               ื
                                           ื
                                ้
               เมือง การเดินทางยายบ้านครั้งแล้วครั้งเล่าสิ้นสุดลง ต่อไปนี่เฮาสิเลี้ยงลูกให้ใหญ่ เฮาสิเฮ็ดบ้านให้ดี อยู่
               หม่องนี้อยู่กับหมพี่น้อง ญาติมิตรของเฮา”
                             ู่
                       จากการวิเคราะห์ปัญหาและข้อมูลที่รับรู้ ที่ดินชุมชนเกตุแก้ว ปัจจุบันเป็นขององค์การบริหารส่วน
                                                                                              ั
               จังหวัด เป็นที่ดินของรัฐ ไม่ใช่ที่ดินของเอกชน จึงมีความเป็นไปได้ที่จะเสนอแผนเพอปรับปรุงพฒนาชุมชน
                                                                                    ื่
               ซึ่งอยู่มากว่า 10 ปี ให้เป็นชุมชนพัฒนาแทนการย้ายหนีอย่างไม่มีจุดจบสิ้น
                       หลังจากเห็นร่วมกันให้ปักหลักอยู่ที่เดิม ก็ได้ร่วมกันท ากิจกรรมพฒนา เริ่มจากการท าการออมทรัพย์
                                                                           ั
                            ั
               วันละบาท ซึ่งพฒนาไปเป็นธนาคารประจ าชุมชนคนจน โครงการคนกับล้อ คือ กลุ่มคนเข็นรถเก็บของเก่า หรือ
               รถซุกทาโกดังรีไซเคิ้ล ช่วยกันพัฒนาสภาพแวดล้อมชุมชน และต่อมาได้ประสานกับชุมชนอนๆ เช่น ชุมชน
                                                                                          ื่

               ลับแล ชุมชนหาดสวนสุข ชุมชนคูยาง ชุมชนดีงาม ชุมชนคุรุมิตร รวมกนเป็นเครือข่ายชุมชน จัดกิจกรรม
                                                                           ั
               เผยแพร่ความคิดความต้องการต่อสาธารณะ ผ่านกิจกรรมการพัฒนา รวมทั้งจัดท าเอกสารเผยแพร่ให้ความรู้
               ด้านแรงงาน ด้านการผลิตอฐแดง ก่อสร้างบ้านสู่สังคมอย่างต่อเนื่อง ท าให้ชุมชนยากจนทั้งหมดมีพนที่ทาง
                                      ิ
                                                                                                 ื้
               สาธารณะไปในทางบวก ซึ่งมีผลอย่างมากในการได้เข้าถึงงบประมาณ จากหน่วยงานต่างๆ เช่น กองทุนการ
               ลงทุนทางสังคม กองทุนมิยาซาวา ฯลฯ
                       อย่างไรก็ดีการอยู่อาศัยครั้งล่าสุด เดิมต้องสร้างบ้านหลบซ่อนหลังที่ดินซึ่งเอกชนเช่าจาก อบจ.
               และถมที่ด้านหลังสูงจนมองชุมชนไม่เห็น ท าให้มีปัญหาต้องเชิญกับน้ าท่วมและสุขภาพไม่ดี หลังจากได้
               พัฒนาความเขมแข็งในหลายๆ ด้าน โครงการคนกับล้อที่มีรถซุกเป็นอุปกรณ์ท ากินได้ชื่อว่าเป็นรถซุกสีเขียว
                           ้
               ช่วยลดขยะให้กับเมืองได้จ านวนมาก แถมยังท าให้ชาวบ้านมีรายได้ที่มั่นคง เป็นพนที่น าร่องในด้าน
                                                                                        ื้
               สิ่งแวดล้อม ประกอบกับมีครอบครัวขยายมากขึ้นจาก 40 หลังคาเรือน เป็น 62 หลังคาเรือน จึงคิดว่าที่ดิน
               ซึ่งถมที่แล้ว เป็นของรัฐ และเอกชนก าลังจะหมดสัญญาเช่ากับ อบจ. น่าจะเป็นเป้าหมายของการอยู่อาศัยที่

               มั่นคง จึงชิงรุกสร้างบ้านทับที่ ก่อนที่นักลงทุนอีกกลุ่มจะขอเช่าจาก อบจ. หรือก่อนจะถูกยึดครอง
                       ชาวบ้านเล่าว่า ตอนเข้าไปสร้างบ้านทับที่ ต้องท ากันแบบหลบๆ ซ่อนๆ กลางวันช่วยกันน าน้ าไปรดที่
               ให้ชุ่มก่อน พอกลางคืนก็ออกมาขุดหลุมเพอลงเสา ช่วยกันเช่นนี้ จนได้มีการเสนอขอสนับสนุนการสร้างบ้าน
                                                  ื่
               ตามโครงการบ้านมั่นคง ที่ด าเนินการโดยสถาบันพัฒนาองค์กรชุมชน หรือ พอช. ซึ่งมีการต่อสู้กันทางความคิด

               อยู่มาก เพราะ พอช. จะสนับสนุนเฉพาะโครงการซึ่งที่ดินไม่มีปัญหาเท่านั้น แต่ของเกตุแกวเรื่องที่ดินยังไม่
                                                                                          ้
   6   7   8   9   10   11   12   13   14   15   16