Page 9 - land is life
P. 9

ที่ดินคือชีวิต ฝ่าวิกฤตที่ดินคนจน [ 9 ]


                       ที่ขาดไม่ได้คือ การสนับสนุนให้เกิดกิจกรรมกลุ่มออมทรัพย์ หรือธนาคารประจ าชุมชนขึ้นมา หรือ
               เรียกอีกอย่างหนึ่งว่า “ธนาคารคนจน” เพื่อให้ชุมชนพึ่งตนเองได้ทางเศรษฐกิจ และเป็นฐานรากขยายไปสู่การ

                         ื่
               พัฒนาด้านอนๆ เช่น ยกระดับเป็น “กองทุนอาชีพ” และการตั้งกองทุนสวัสดิการ เป็นต้น ซึ่งความสามารถใน
                                        ื้
               การบริหารการเงินนี้มักเป็นพนฐานไปสู่การบริหารกองทุนหรืองบประมาณจากแหล่งทุนที่ส่งสู่ชุมชนให้มี
               ประสิทธิภาพ
                               ื่
                       เหนือสิ่งอนใด สังคมมักมองว่าชาวสลัมคือผู้ที่ท าให้เมืองสกปรก สิ่งแวดล้อมไม่ดี จึงมีการจัดตั้ง
               ชุมชนน าร่อง 4 ชุมชน เพื่อพัฒนาด้านสิ่งแวดล้อมและที่อยู่อาศัย ได้แก่ ชุมชนลับแล ท่าวังแดง คุรุมิตรและ
               เกตุแก้ว โดยใช้เงื่อนไขของการสร้างอาชีพให้กับชาวชุมชนเป็นกลไกการด าเนินงาน

               เชื่อมโยงคนทุกข์ทั้งเมอง-ชนบท...สู้ไปด้วยกัน
                                  ื

                            ี
                       มิใช่เพยงปัญหาดังได้กล่าวมาข้างต้นเท่านั้น แต่เมือง
                                                     ่
               อบลราชธานี และวารินช าราบ ได้ชื่อว่าเป็นแองกระทะเป็นที่รับ
                 ุ
                                                           ั
               น้ า ดังนั้นจะมีน้ าท่วมซ้ าซากทุกปี ซึ่งชาวชุมชนแออด ก็ได้รับ
               ผลกระทบด้วยเช่นกัน ทุกๆ ปี จะต้องย้ายมาพักชั่วคราวริมถนน
               นานเป็นเดือนกว่าน้ าจะลด จึงได้มีการร่วมกันท ากิจกรรม “การ
               จัดการภัยพิบัติโดยชุมชน” มีการลองผิดลองถูก ไปศึกษาดูงาน

               จนมีความสามารถรับมือกับน้ าท่วมได้ระดับหนึ่ง และมีศักยภาพ
               พอที่จะไปช่วยเหลือชุมชนผู้ประสบภัยในที่ต่างๆ เช่น การช่วย
               ผู้ประสบภัยน้ าท่วมใหญ่ที่กรุงเทพ พ.ศ. 2554 เป็นต้น
                       การเคลื่อนขบวนประการหนึ่งที่น่าสนใจคือ การ

                            ี่
                                        ื่
               เชื่อมโยงกับพน้องคนทุกข์อนๆ ในชนบท เช่น กรณีเขื่อน
               ปากมูลและพี่น้องชนบทที่มีปัญหาความไม่มั่นคงเรื่องที่อยู่อาศัย
               เช่นกัน ท าให้มีเพอนมีมิตรมากขึ้น เป็นการสร้างเครือข่ายการ
                              ื่
               แก้ปัญหาที่มีพลัง แล้วน าปัญหาเหล่านี้ไปต่อสู้เชิงนโยบาย
               ร่วมกับเครือข่ายอื่นๆ ทั่วประเทศในนาม “เครือข่ายชุมชนเพื่อ
                                                                            ื่
                                      ื
               การปฎิรูปสังคมและการเมอง” หรือ “คปสม.” และขบวนประชาชนเพอสังคมที่เป็นธรรม หรือ Pmove
               โดยเฉพาะอย่างยิ่งนโยบายสิทธิการถือครองที่ดินแบบแปลงรวม หรือ “โฉนดชุมชน”
   4   5   6   7   8   9   10   11   12   13   14