Page 10 - land is life
P. 10

ที่ดินคือชีวิต ฝ่าวิกฤตที่ดินคนจน [ 10 ]


               ชุมชนเกตุแก้วเข็นรถซุกบุกท าเลทอง
                       ยายโอง  ยายทองมา ยายลาว ยายนวย พ่อใหญ่เล็ก ยายด า ตาสุพรรณ ฯลฯ พ่อใหญ่ แม่ใหญ่

               เหล่านี้ มีช่วงอายุราว 70-85 ปี ทุกคนมีถิ่นฐานบ้านเกิดเดิมในชนบทที่ไกลจากตัวจังหวัดนับร้อย
               กิโลเมตร ถิ่นชนบทที่ล้มเหลวในภาคการเกษตรอย่างต่อเนื่องมาตั้งแต่ปี พ.ศ. 2510 ท าให้พวกเขา
               อพยพเข้ามาขายแรงงานในเมืองอุบลราชธานี เมืองซึ่งได้รับการตั้งเป้าจากรัฐบาลทุกยุคให้เป็นหัวเมือง
               ชายแดนที่เจริญมั่งคั่ง เป็นเขตเศรษฐกิจเฉพาะที่เชื่อมต่อจากจีน พม่า ไทย ลาว และเวียดนาม แต่พวก

               เขายากจนและต้องขายแรงงาน ปั่นสามล้อ หาบของขาย ท างานบริการทุกชนิดตามสถานเริงรมย์ โดยมี
               แหล่งที่อยู่อาศัยที่เสื่อมโทรมพอเป็นที่ซุกหัวนอน มีอาหารถูกๆ อาชีพทุกชนิดที่เอาแรงกายเข้าแลกและ
                                                                 ี
               ท าให้อยู่รอดเป็นเดือนๆ จนกว่าจะย่างเข้าสู่ฤดูกาลท านาอกครั้ง ซึ่งจะเป็นเวลาที่พวกเขาได้มีลมหายใจ
                                                                                       ื่
               ใหม่ในบรรยากาศท้องทุ่ง ท านา เกี่ยวข้าว ก่อนจะแบกขนข้าวเข้าเมืองเป็นเสบียงเพอขายแรงงานต่อไป
               และเมื่อชนบทล้มเหลวโดยสมบูรณ์ พวกเขาจึงเลือกปักหลักในเมืองอย่างถาวร โดยใช้ประสบการณ์ที  ่
               ช่ าชองเอาตัวรอดที่ผ่านมา
                       ช่วงปี พ.ศ. 2526 รัฐบาลพฒนาเมืองอบลราชธานีใหม่ หลังไฟไหม้ใหญ่ย่านเมืองเก่า วังสงัดเป็น
                                              ั
                                                       ุ
               ส่วนหนึ่งและน ามาไปสู่การเกิดแผนรื้อย้ายที่อยู่อาศัยย่านนั้นทั้งหมด โดยมีนักธุรกิจอยู่เบื้องหลัง โดยแผน
               ดังกล่าว ชุมชนถูกไล่รื้อ คนจ านวนมากไร้ที่อยู่อาศัย มีกลุ่มหนึ่งราว 20 ครอบครัว ข้ามแม่น้ ามูลจากฝั่ง
               เมืองวังสงัดเดิม เข้าสู่พนที่รกร้าง น้ าท่วมซ้ าซากของริมฝั่งมูล ฝั่งอาเภอวารินช าราบ ริมถนนสายอบล-

                                                                                                    ุ
                                   ื้
               ศรีษะเกษ และปักหลักตั้งชุมชนจากเศษวัสดุเก่าที่ขนติดมือมาจากวังสงัด จึงเกิดชุมชนสลัมขึ้น สมทบกับ
               ชุมชนดั้งเดิมที่ตั้งอยู่ก่อนแล้วคือ ชุมชนหาดสวนยา หาดสวนสุข คูยาง
                       ชุมชนใหม่ยังไม่ทันมีชื่อ เพียงอยู่อาศัยได้ 1-2 ปี ก็มีเจ้าของมาแสดงตัวและไล่รื้อ พวกเขาต้องย้าย
                                                                               ี
                     ี
               ที่อยู่อกครั้ง ห่างจากที่เดิมราว 300 เมตร แต่ยังยึดท าเลริมถนนใหญ่ แต่เพยง 1 ปี ก็มีผู้มาแสดงตัวเป็น
               เจ้าของแจ้งให้พวกเขาย้ายอีก และในครั้งนี้พวกเขาค้นพบที่ใหม่ที่อยู่ห่างจากถนนใหญ่ ประมาณ 300 เมตร
               ในสภาพพุ่มไม้รกร้าง และกองดินถมสูงของนักธุรกิจใหญ่ โดยหวังว่าจะไม่ถูกไล่รื้ออก เพราะดูเหมือนว่าจะ
                                                                                    ี
               เป็นพนที่ไม่มีความส าคัญใดๆ จึงร่วมกันลงมือสร้างเรือนจากขยะโรงงาน ที่มาเททิ้งไว้บริเวณนั้น และ
                    ื้
               เรียกว่า “ชุมชนเศษแก้ว” ซึ่งเป็นชุมชนที่ 4 หลัง การตัดสินอยู่ในเมืองอย่างถาวร แม้จะมีน้ าจากน้ ามูล
               หลากแทบทุกปี แต่ท าเลเป็นพื้นที่ลุ่มน้ า มีกุด บุ่ง ต่อเนื่อง จากแม่น้ ามูล ท าให้หากินทั้งผัก ทั้งปลา หอย ปู

               ในพนที่ลุ่มน้ า เสมือนมีตู้เย็นหรือครัวธรรมชาติอยู่หน้าบ้าน วันไหนขายแรงงานไม่ได้หรือได้น้อย เขายังมี
                   ื้
                                                    ั
               อาหารจากธรรมชาติให้หาอยู่หากินพอประทงชีวิตอยู่ได้ แต่ก็ไม่ท าให้มีคุณภาพชีวิตดีขึ้นได้แต่อย่างใด
                                                                     ุ
                           ั
                       นักพฒนาที่ลงพนที่ท างานพฒนาชุมชนแออดในจังหวัดอบลราชธานี ภายใต้โครงการเมืองน่าอยู่ได้
                                                           ั
                                    ื้
                                              ั
               ท าการส ารวจข้อมูลชุมชนแออดในจังหวัดอบลราชธานี พบแนวโน้มการไล่รื้อ เพราะเศรษฐกิจโดยรวมดีขึ้น
                                                   ุ
                                         ั
                                                                                         ี
                             ั
               รัฐบาลทุ่มการพฒนา เริ่มมีคนเข้ามาแสดงตัวเป็นเจ้าของที่ดินย่านชุมชนเศษแก้วนี้อกครั้ง ทั้งเอกชน
   5   6   7   8   9   10   11   12   13   14   15