Facebook : วีดีโอภายในงาน (นาทีที่ 12.50)

 

การจัดการภัยพิบัติเพื่อชุมชนอย่างยั่งยืน จังหวัดนครศรีธรรมราช

(19 เม.ย.2566)
การจัดการภัยพิบัติเพื่อชุมชนอย่างยั่งยืน จังหวัดนครศรีธรรมราช : จากรูปธรรมนี้สามารถขยายไปสู่นโยบายการจัดการภัยพิบัติชุมชน นโยบายส่งเสริมชุมชน และสนับสนุนให้ชุมชนจัดการภัยได้ด้วยตัวเองได้

ตลาดวัฒนธรรมชาวเล (อูรักราโว้ย เกาะหลีเป๊ะ จ.สตูล) ดินแดนแห่งชาติพันธุ์ดั้งเดิม ที่ประกาศให้เกาะหลีเป๊ะเป็นเขตแดนของสยาม

(4 เม.ย.2566)
ขอเชิญสนับสนุนกองทุนพัฒนาพื้นที่ชาวเลเกาะหลีเป๊ะเป็น 1.ตลาดชาวเล 2.ศูนย์วัฒนธรรม-วิถีชีวิต 3.ศูนย์สร้างเสริมสุขภาพ บนดินแดนแห่งชาติพันธุ์ดั้งเดิม ที่ประกาศให้เกาะหลีเป๊ะเป็นเขตแดนของสยาม

ผลผลิตนักสื่อสารชุมชน เยาวชนชาวเลเกาะหลีเป๊ะ จ.สตูล

(29 มี.ค.2566)
ผลผลิตของนักสื่อสารชุมชน เยาวชนชาวเลอูรักลาโว้ย หลังจากที่มูลนิธิชุมชนไทได้อบรมให้ความรู้ต่าง ๆ ด้านการสื่อสารให้กับเด็กเยาวชนชาวเลเกาะหลีเป๊ะ เพื่อสื่อสารเรื่องราวต่าง ๆ ของบ้านเกิดตนเองต่อสังคม

Pages

Subscribe to มูลนิธิชุมชนไท RSS

ประสบภัย ประสบการณ์ ประสานเพื่อน

  

หนังสือเล่มนี้เขียนขึ้นหลังจากเกิดเหตุการณ์สึนามิแล้ว 1 ปี โดยผู้ประสบภัย-ผู้ประสานงาน ได้รวบรวมข้อมูลจากประสบการณ์ทั้งหมดมาเพื่อเป็นความรู้

เนื้อหาที่สำคัญ
- ฟื้นฟูชุมชนอันดามันหลังสึนามิ
- ฟื้นฟูผู้ประสบภัยสึนามิ
- หลากหลายลีลากับการพัฒนาหลังสึนามิ
- การฟื้นฟูชุมชนหลังสึนามิของประเทศต่าง ๆ ในเอเซีย
- เรื่องราวการฟื้นฟูชุมชนหลังสึนามิในจังหวัด ระนอง กระบี่ พังงา ภูเก็ต ตรัง สตูล

 

"สึนามิ" คลื่นแห่งการปฏิรูป

  

เนื้อหาในหนังสือ

สึนามิ : คลื่นแห่งการเรียนรู้
บทที่ 1 บทเรียนและประสบการณ์ในการจัดการศูนย์พักพิงชั่วคราว
บทที่ 2 บทเรียนจากการฟื้นฟูชีวิตและชุมชนผู้ประสบภัยสึนามิ
บทที่ 3 ความงอกงามของขบวนการประชาชนหลังภัยสึนามิ
บทที่ 4 บทเรียนภัยพิบัติสู่การปฏิรูป
บทที่ 5 เรื่องเล่าจากผู้ประสบภัยและอาสาสมัครสึนามิ
บทที่ 6 การแลกเปลี่ยนประสบการณ์กับผู้ประสบภัยในต่างประเทศ

Pages